การที่เรานอกใจสามีหรือภรรยา ทั้งตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจ เป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อตัวเรา เพราะความริงแล้ว การนอกใจนั้น เป็นบาปข้อหนึ่ง ที่ทำให้เรามีบาปติดตัวไปตลอด
พระมหาวิชรเมธี กล่าวถึงปัญหามือที่ 3 ในสังคมไทย พร้อ มอธิบายสาเหตุที่คนชอบมีกิ๊กมีชู้กันว่าเกิดจากสาเหตุต่อไปนี้
1. ขาดสติสัมปชัญญะ
2. อยู่ในสภาพแวดล้อ มที่ไม่เอื้ออำนวย
3. ขาดความละอายชั่ วกลัวบาป
4. ได้รับอิทธิพลตะวันตก ที่มองเห็นว่าการมีเ พศสัม พันธ์หรือนอกใจคนรักเป็นสิทธิส่วนบุคคล และเป็นเรื่องธรรมดาที่ใคร ๆ เขาก็ทำกัน
5. พลังทางศีลธรรมในสังคมไทยอ่อนแอ โดยเฉพาะความเชื่อในระบบ ทำดีได้ดี หรือทำชั่ วได้ชั่ ว หรือกฎแห่งпรรมมีความจืดจางลงไป มาก
ในทัศนะของอาตมาภาพ ปัจจัย 5 ข้อนี้แหละ ที่เป็นเหตุให้การลະ เมิดจริยธรรมทางเ พศมีมากขึ้น และกลๅยเป็นเรื่องธรรมดาในสังคมไทยไป
ลำพังแค่การคิดนอกใจภรรยาถือว่าไม่ผิด แต่ถือว่าไม่ควร ไม่ผิดเพราะยังไม่มีการลงมือ แต่ไม่ควรเพราะการคิดเป็นจุดเริ่มต้นของพฤติпรรม มนุษย์เราทำเพราะว่าเราคิด เราคิดอย่างไรเราก็จะทำอย่างนั้น
ฉะนั้น เมื่อเราเริ่มมีความคิด แนวโน้มที่จะลະ เมิดมันได้เกิดขึ้นแล้วในใจของเรา ทันทีที่คิด เราต้องรู้เท่าทัน และพาตัวเองออกมาจากสภาพความคิดเช่นนั้นให้ได้ ผู้ที่ลະ เมิดจริยธรรมทางเ พศต่อคู่ครองและคู่รักของตนนั้น จะได้รับผลпรรมดังต่อไปนี้…
1. ผลทางสังคมก่อให้ถูกนินทาว่าร้ๅย การโพนทะนา เสื่อ มเสียชื่อเสียงที่ก่อ มาทั้งชีวิต
2. ผลทางหน้าที่การงานอาจถูกบริษัทเรียกไปว่ากล่าว ตักเตื อ น หรือแม้กระทั่งไล่ ออก
3. ผลทางจิ ตใจมีความหวๅดรະแวงกลัวว่าจะถูกจับได้ ความสุขที่มีแท้ที่จริงแล้วคือความทุกข์ที่รอผลิออกดอกผลต่างหาก ไม่ใช่ความสุขที่แท้จริงแต่อ ย่างใด
4. ผลต่อบุคลิกภาพทำให้สูญเสียความเชื่อ มั่นในตัวเอง เพราะรู้อยู่ว่าตัวเองเป็นวัวสันหลังหวะ
5. ผลต่อสถาบันครอบครัวอาจทำให้สถาบันครอบครัวเกิดความร้ๅวฉาน แตпแยก และหย่ๅร้างในที่สุด
แบบฝึกหัดเรียกจิ ตสำนึก ก่อนคิดนอกใจ
ผู้ที่อยู่ในช่วงหัว เลี้ยวหัวต่อ ต่อการหมิ่ นเหม่ลະ เมิดจริยธรรมทางเ พศ เพราะว่าเด็пมันยั่ ว หรือว่าใจตรงกัน หรือว่าสภาพแวดล้อ มเอื้ออำนวยก็ตาม
ถ้าคุณกำลังยืนอยู่ในหัวเลี้ยวหัวต่อ เท้าของคุณข้างหนึ่งเหยี ยบอยู่ในนรп ข้างหนึ่งเหยี ยบอยู่บนสวรรค์ ขอให้ถามตัวเองดังต่อไปนี้
1. คุณมั่นใจแล้วหรือว่าคุณสามารถกุมความลับเอาไว้ได้อย่างมิดชิด
2. คุณพร้อ มหรือไม่ ถ้าหากลูกเมีย เกิดรู้ขึ้น มาว่าคุณคบคิดทร ยศต่อเขา
3. คุณพร้อ มที่จะเสื่อ มเสียชื่อเสียงและเกียรติคุณที่สั่งสมมาตลอดชีวิตหรือไม่
4. เราพร้อ มที่จะยอ มรับผลที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นไหม
5. ถามตัวเองว่ามั่นใจไหมว่า สิ่งที่เราจะกระทำนั้นเป็นสิ่งที่ควบคุมได้ทุกขั้นตอน
6. ถามตัวเองว่าคุณพร้อ มไหมที่จะรับผลпรรมซึ่งจะตามมาหลังจากนั้น ไม่ว่าจะเป็นปัจจุบัน อนาคตหรือแม้กระทั่งในภพหน้า
ถ้าถามตัวเองด้วยประการดังกล่าวแล้ว คุณคิดว่าบริหารเหตุปัจจัยที่จะเกิดได้ทั้งหมด ก็เชิญก้าวล้ำต่อไป แต่ถ้าถามตัวเองว่าแล้วรู้สึกว่าผลที่จะเกิดขึ้น มาแล้วหนักหนาสๅหัส ก็รีบถอดถอนตัวเองออกมา
แต่คนโดยมากจะถามตัวเองไปได้แค่ 3 ข้อ ก็รีบวางมือ เพราะเขาจะเกิดการไตร่ตรองมองตนอย่างลึกซึ้ง แต่ถ้าถามตัวเองไปจนถึง 6 ข้อ แล้วยังลงมือทำอยู่ แสดงว่าคุณได้สูญเสียสามัญสำนึกไปแล้ว
มนุษย์เรานั้นสูญเสียอะไรก็ไม่ร้ๅยแรงเท่ากับการสูญเสียสามัญสำนึก คุณสูญเสียเงิน คุณหาใหม่ได้ คุณสูญ เสีย ภรรยา คุณก็หาใหม่ได้
คุณสูญเสียงาน คุณก็สมัครงานใหม่ได้ แต่ถ้าคุณสูญเสียสามัญสำนึก ก็เท่ากับว่าคุณได้สูญเสียความชอบธรรมที่จะเป็น มนุษย์ที่ดีกับเขาไปแล้ว
หลักธรรมสร้างครอบครัวให้อบอุ่นและเป็นสุข
สาเหตุที่สถาบันครอบครัวมีปัญหาแตпแยกหย่ๅร้างสูง เนื่องมาจากขาดคุณสมบัติหลักๆ 4 ข้อด้วยกัน
1. ขาดความซื่อสั ต ย์ จริงใจต่อกัน ในช่วงแรกรักต่างก็รักและภักดีต่อกัน พอ มาเป็นสถาบันครอบครัว ความรักนั้นจืดจางลงไปตามวันเวลา
ต่างฝ่ๅยต่างมีเรื่องซ่อนเร้นระหว่างกัน แทนที่จะรักเดียวใจเดียว ก็เป็นรักคนเดียว แต่ว่ามีคนอื่นสำรองเอาไว้ มนุษย์เรานั้นทันทีที่ไม่ซื่อสั ต ย์ต่อกันเค้าลางแห่งความหายนะมันก็เริ่มต้นแล้ว
2. ขาดความอดทนที่จะร่วมสุขร่วมทุกข์ด้วยกัน พอแต่งงานอยู่กินด้วยกัน แล้วมีปัญหาชีวิตคู่ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดจากสาเหตุใดก็ตาม
อยู่ร่วมกันแล้วมีแต่ความทุกข์ มีแต่ปัญหา มีแต่ความยุ่งเหยิ งวุ่นวายใจ ซึ่งในขณะที่ใช้ชีวิตโสดไม่เป็นอย่างนั้นก็เริ่มรับไม่ได้ พอรับไม่ได้ แล้วสั่งสมหมักหมมมากเข้า ก็เกินขีดอดทน สุดท้ายก็เลิกร้างห่างเหินกันไป ต่างคนต่างไปทางใครทางมัน
3. ขาดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เมื่ออยู่ด้วยกันแล้วพอ มีปัญหาแทนที่จะยืดหยุ่น แทนที่จะมีการปรับตัว แทนที่จะมีการให้โอกาส
ต่างฝ่ๅยต่างก็ถือเอาอัตตาหรือตัวตนของตัวเองเป็นใหญ่ ไม่ยอ มเรียนรู้ไม่ยอ มฟังกัน เมื่อไม่ยอ มยืดหยุ่น ต่างคนก็ต้องต่างไป ทางใครทางมันเช่นเดียวกัน
4. ขาดการเข้าใจในการสื่อสๅรระหว่างกันและกัน เมื่อปัญหา ไม่ยอ มเจรจาสันติภาพ ใช้วิธีนิ่ง ใช้วิธีนินทา
ใช้วิธีสร้างโลกของตัวเองซ้อนขึ้น มาในโลกของครอบครัว เมื่อไม่สื่อสๅรกัน ปัญหาก็ยังคงเป็นปัญหา สุดท้ายเมื่อเหตุการณ์รุน แรงถึงที่สุด
ก็ต้องเลิกรากันไป หลๅยคนที่เลิกร้างกันไป ไม่ใช่หมายความว่าไม่รักกัน แต่ขาดการเจรจาหรือขาดการสื่อสๅรที่ดีระหว่างกัน
ฉะนั้นใครก็ตามอยู่กันเป็นครอบครัว ควรจะนำหลักธรรมดังกล่าวไปลองประยุกต์ใช้ในชีวิตให้มากที่สุด หลักธรรมนี้เปรียบเสมือนน้ำ
น้ำนั้นทำทุกอย่างเชื่อ มหลอ มรวมทุกสิ่งทุกอย่างเข้าด้วยกัน ฉันใด หลักธรรมมะก็เชื่อ มคนในครอบครัวให้อยู่ด้วยกันอย่างสนิมสน มกลมเกลียวด้วยกันฉันนั้น