มุมมองต่อปัญหานอпใจนี้ก็เข้าข่าย คนทำไม่ได้คิด(มาก) แต่คนที่ถูกกระทำ(ไม่ได้ทำ) ไม่ว่าจะเป็นเ พ ศไหน กลับคิดและต่างเห็นพ้องต้องกันว่า
ถึงจะเป็นการนอпใจแบบไม่มีเ พ ศสัมพันธ์มาเกี่ยวข้อง แต่ความรุนแรงของมันก็ไม่ต่างอะไรกับการนอпใจแบบมีเ พ ศสัมพันธ์ และเป็นการบ่งบอกว่า “คู่ของเรา” ได้ตัดสินใจลาออกจากชีวิตคู่แล้ว
1.คนที่นอпใจเป็นพวกห ล งตัวเองและต้องการย้ำเตือนความสำคัญของตัวเองไม่มีที่สิ้นสุด
คนประเภทนี้มักจะค้นหาเป้าห ม ายใหม่ไปเรื่อย ๆ เพื่อให้ตัวเองยังรู้สึกมั่นใจอยู่ จึงมีอาการเหมือนเ ส พติดการเป็นคนสำคัญที่ต้องการให้คนอื่นคอยช่วยย้ำเตือนความสำคัญของตนเองอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพราะแท้จริงแล้วคนประเภทนี้รู้สึกไม่มั่นใจและมีความมั่นใจในตัวเองต่ำ มันจึงเป็นเรื่องที่ง่ายกว่าสำหรับคนพวกนี้ในการหาคนอื่น มาคอยชื่นชมตัวเองแทนที่จะเผชิญหน้ากับความไม่มั่นใจที่คอยห ล อ กหลอนตัวเองอยู่
2.คนที่นอпใจมีปัญหาในการควบคุมความต้องการของตนเอง
สัญญาณที่บ่งบอกถึงปัญหาความบกพร่องในการควบคุมความต้องการของตนเองนั้นคือการเ ส พติด “ความสุข” จากสิ่งต่าง ๆ เช่น สุ ร า อาหาร หรือการพ นั น มากเกินไป ซึ่งการนอпใจก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของปัญหานี้เช่นกัน แม้แต่เรื่องที่ดูเล็กน้อยอย่างการให้ท่าแบบไม่มีพิ ษภัยหรือการคบหาที่ไปไกลกว่าคำว่า “เพื่อน” ก็ส่งผลให้คนเหล่านี้ต้องปกปิดความผิดอย่างเลี่ยงไม่ได้
3.คนที่นอпใจเชื่อว่าการมีกิ๊กเป็นเรื่องที่ถูกต้องสำหรับตนเอง
คนประเภทนี้ชอบอ้างว่า “มันไม่ใช่เรื่องเสียหายอะไร คนเรามีชีวิตเพื่อเติมเต็มความต้องการเป็นธรรมชาติ” และข้ออ้างนี้ก็ถูกใช้สร้างความชอบธรรมให้กับพฤติกรรมของคนประเภทนี้ พร้อมกับเหตุผลอีกส า รพัดว่าทำไม “เพื่อน” คนนี้หรือการมีคนอื่นถึงสำคัญกับชีวิตของเขา และการคบซ้อนแบบนี้ก็เป็นเรื่องที่ไม่ได้ทำลายความสัมพันธ์แต่อย่างใด
ที่สำคัญคนประเภทนี้ยังเชื่อจริง ๆ อีกว่า ตัวเอง “ไม่ได้เจ้าชู้” และพร้อมจะหาเหตุผลส า รพัดมายืนยันตัวเอง ซึ่งเหตุผลอย่างหนึ่งก็คือรายได้ของคนที่นอпใจมากพอที่จะไปมีคนอื่นได้
4.คนที่นอпใจเชื่อว่าตัวเองเป็นคนดีและไม่คิดว่าพฤติกรรมของตนเป็นเรื่องผิด
คนประเภทนี้เชื่อว่าการนอпใจที่เป็นความผิดห ม ายถึงการมีเ พ ศสัมพันธ์กับคนอื่นที่ไม่ใช่คู่ของตนเท่านั้น และในเมื่อเขาไม่ได้มีเ พ ศสัมพันธ์กับคนอื่น ก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องรู้สึกผิดอะไรกับการทำกิจกรรมอื่น ๆ และคิดเพียงแค่ว่าคู่ของตนนั้นคิดมาก ขี้หึง กลัวถูกทิ้ง หรือเจ้ากี้เจ้าการน่ารำคาญ ฯลฯ
คนประเภทนี้จะชอบย้ำว่าตัวเองไม่มีแม้แต่ความคิดที่จะ “ทำผิด” (คือแ อ บไปมีเ พ ศสัมพันธ์กับคนอื่น) แต่จะเพิกเฉยกับการกระทำอื่น ๆ ที่ก็ถือเป็นการนอпใจทั้งหมด
5.คนที่นอпใจปฏิเสธใครไม่เป็น
คนประเภทนี้มองว่าตนเองเป็นที่พึ่งสำคัญของคนอื่น ไม่ว่าจะเพราะคนอื่นที่ว่านี้ต้องการ “ความช่วยเหลือ” หรือเพราะตัวคนที่นอпใจต้องการรู้สึกเป็นคนสำคัญอยู่ลึก ๆ ก็ตาม
6.คนที่นอпใจไม่ชอบให้คู่ครองคอย “บงการชีวิต”
คนประเภทนี้มักล้มเหลวในการสื่อส า รความต้องการของตนเองอย่างถูกวิธี จึงคิดว่าสิ่งที่ตัวเองทำอยู่คือการต่อสู้เพื่ออิสรภาพในชีวิต ทั้งที่แท้จริงแล้วก็ยังติดอยู่กับการถูกบงการ ด้วยการไม่ยอมอ่อนข้อให้กับคู่ของตน คนประเภทนี้ก็เพียงแค่แสดงให้คู่ของตนเห็นว่าขอบเขตของการควบคุมอยู่ตรงไหนเท่านั้น
7.คนที่นอпใจโตมาในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการนอпใจ
คนประเภทนี้อาจมีญาติพี่น้องที่มีพฤติกรรมแบบเดียวกันและไม่คิดว่าการนอпใจเป็นเรื่องผิด เมื่อค่านิยมในครอบครัวคือการป้องกันตัวอย่างไร้ความรับผิดชอบและแก้ปัญหาด้วยการโยนความผิด ไม่รับผิด มีความเชื่อผิด ๆ และไม่ยอมรับความจริง คนประเภทนี้ก็ย่อมมีพฤติกรรมไม่ต่างกัน
8.คนที่นอпใจไม่พอใจคู่ของตนเองแต่ไม่แสดงออก
คนประเภทนี้ไม่สามารถแสดงความรู้สึกของตน (โดยเฉพาะความรู้สึกแง่ลบ) ออกมาได้ และมักตามใจคนอื่นเพื่อหลีกหนีปัญหา ดังนั้น มันจึงเป็นเรื่องที่ง่ายกว่าที่จะแสดงตัวเป็น “คนดี” แล้วแ อ บไปหาที่เติมพลังที่อื่น
9.คนที่นอпใจรู้สึกผิดหวังในความสัมพันธ์หรือในตัวคู่ครอง
คล้ายกับเหตุผลก่อนหน้า คนประเภทนี้จะไม่แสดงออกตรง ๆ เมื่อความโกรธขึ้น มา คนประเภทนี้จะไม่แสดงออกอย่างตรงไปตรงมา ไม่ว่าจะเป็นความผิดหวังในแง่ของชีวิตคู่ที่ไม่เหมือนฝัน หรือคู่ครองที่เปลี่ยนไปไม่เหมือนเดิม การแสดงออกถึงความรู้สึกแง่ลบกับคู่ครองของตนโดยตรงก็ดูจะเสี่ยงเกินไปสำหรับคนประเภทนี้
10.คนที่นอпใจกลัวการผูกมัด
การผูกมัดเป็นสิ่งที่น่ากลัวสำหรับคนประเภทนี้ ที่แม้จะใจใฝ่หาแต่ก็หวาดกลัว มันจึงเป็นเรื่องง่ายกว่าที่จะหามือที่ 3 มาผสมโรงแทนที่จะพูดคุยกับคู่ของตนตรง ๆ คนประเภทนี้จะทำทุกอย่างเพื่อหลีกเลี่ยงความสัมพันธ์ลึกซึ้งและเลือกที่จะคบหาแบบปลอดภัยไว้ก่อน ด้วยความกลัวว่าจะเป็นฝ่ายถูกทิ้ง คนประเภทนี้จึงมักเตรียมทางออกไว้เพื่อให้ตัวเองไม่เสียความรู้สึก เพราะการเป็นฝ่ายทิ้งย่อมรู้สึกดีกว่า
11.คนที่นอпใจเคยพบว่าพ่อแม่ของตนก็นอпใจ
ประสบการณ์แบบนี้ทำให้คนประเภทนี้มองว่าการนอпใจเป็นเรื่องธรรมดา ชีวิตคู่ที่ดีนั้นเป็นเรื่องแปลกประหลาดสำหรับคนประเภทนี้ คนกลุ่มนี้จึงทำตัวใกล้ชิดสนิทสน มกับคนอื่นได้อย่างไม่มีกาลเทศะ ซึ่งก็ถือว่าเป็นการนอпใจเช่นกัน
12.คนที่นอпใจกำลังอยู่ในห้วงทุกข์ของความสูญเสีย
คนประเภทนี้ยังมีใจกับคนรักเก่า (อาจจะเป็นคู่ที่เสียชีวิตไปแล้ว คู่ที่เลิกรากันไป หรือแม้แต่รักแรก) ทำให้คนประเภทนี้ไม่มีความสุขกับความสัมพันธ์ใหม่เมื่อเทียบกับคนเก่าที่ยังอยู่ในใจ
13.คนที่นอпใจมีคู่ครอง(หรือลักษณะความสัมพันธ์)ที่ไม่ตอบสนองความคาดหวัง
คนประเภทนี้อาจมีคู่แต่งงานที่จริงจังและหัวโบราณจนน่าเ บื่ อ ก็เลยเลือกที่จะไปตีสนิทกับคนอื่นที่สนุกสนาน มีสีสัน และอิสระมากกว่า คนประเภทนี้มักรู้สึกเก็บกดเวลาอยู่กับคู่ครอง แต่จะรู้สึกมีอิสระในการเป็นตัวของตัวเองเมื่ออยู่กับชู้รัก และการได้ปลดปล่อยตัวตนที่เก็บซ่อนไว้ก็เป็นเรื่องที่รู้สึกดีเสียด้วย
14.คนที่นอпใจใฝ่หาความรู้สึกสดใหม่
คนประเภทนี้ต้องการความรู้สึกสดใหม่ในชีวิตที่หาไม่ได้จากที่บ้าน
15.คนที่นอпใจต้องการเปลี่ยนแปลงตัวเอง
คนประเภทนี้เหนื่อยกับการทำตัวเป็นคนดีตลอดเวลา จึงอยากทำเรื่องไม่ดีเพื่อปลดปล่อยตัวเองบ้าง ซึ่งก็เป็นข้ออ้างที่คนประเภทนี้มักเอามาใช้
16.คนที่นอпใจชอบมีความลับ
การมีความลับนั้นเ ย้ า ย ว นใจและให้ความรู้สึกว่าเป็นฝ่ายมีอำนาจเหนือกว่าในความสัมพันธ์ คนประเภทนี้อาจจะชอบมีความลับตั้งแต่เด็กจนกลายเป็นนิสัย
17.คนที่นอпใจเป็นพวกไม่ยอมโต
ไม่ว่าจะความรู้สึกว่าอยากเป็นเด็กตลอดไป หรือความไม่พร้อมที่จะรับผิดชอบชีวิตของตัวเองแบบผู้ใหญ่ก็ทำให้คนประเภทนี้เลือกที่จะหนีความจริง ทุกความสัมพันธ์ล้วน มีอุปสรรคแต่คนประเภทนี้จะตัดสินใจหนีมากกว่าเผชิญหน้ากับปัญหา
แต่ไม่ว่าคู่ของคุณจะนอпใจคุณเพราะสาเหตุใด การเข้าใจที่มาที่ไปของเขาก็ไม่ใช่เพื่อจุดมุ่งห ม ายให้คุณ “ยอม” อยู่ตกอยู่ในสถานการณ์อิหลักอิเหลื่อแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่มันควรจะเป็นความเข้าใจที่อยู่บนพื้นฐานว่าคุณจะหาทางออกให้กับปัญหาการนอпใจนี้ในทิศทางใด