ข้อคิดสอนใจ

วิธีออมเงินแบบง่ายๆ สำหรับคนที่ ออมเงินไม่เก่ง

ข้าวของ ราคาแพงค่าใช้จ่ายมีแต่ จะเพิ่มขึ้น สินค้าก็มีแต่ขึ้นราคา แต่เงินเดือนไม่ยักขึ้นตามสุดท้ายก็ต้องกู้หนี้ยืมสิน มีหนี้บั ตร เ ค ร ดิ ต พ่วงย าวเป็นวา เงินออมไม่ต้องพูดถึง

จริงๆ แล้วการออมเงินไม่ได้เป็นเรื่องย ากนะคะ บางคนเป็นหนี้อยู่ก็ยังออมเงินได้ เพียงแต่ว่าเราจะต้องตั้งใจทำนิดนึงค่ะ

1. เก็บก่อนใช้

วิธีนี้ เป็นวิธีการเริ่มต้นง่ายๆ ของคนอย ากมีเงินออมค่ะ ใครๆ ก็ทำได้ เห็นผลง่าย แต่ต้องบังคับตัวเองไม่ให้เอาเงินส่วนนี้ไปใช้นะคะ

วิธีการ : เมื่อเงินเดือนออ ก แบ่ง 10% ของเงินเดือนเพื่อเป็นเงินออมทันที และเงินก้อนนี้เพื่อ การออมอย่างเดียวเท่านั้นนะคะ ห้ามเอาออ กมาใช้เด็ ดขา ดส่วนที่เหลือ ก็แบ่งเป็นส่วนๆ

เพื่อจ่ายหนี้ จ่ายค่าใช้จ่ายรายเดือนต่างๆ และใช้จ่ายประจำวัน วิธีการออมเงินแบบนี้เป็นวิธีที่จะสามารถช่วยเราสร้างวินัยในการออมเงินได้ค่ะ

2. เอาชนะใจตัวเอง

สิ่งที่ย ากที่สุดสำหรับการออมเงิน คิดว่าคงเป็นการเอาชนะใจตัวเอง ไม่ซื้ อ ไม่ใช้ ไม่เอาเงินในกระปุกออ กมาใช้จ่าย แต่จะทำยังไงล่ะถึงจะบังคับตัวเอง สร้างวินัยในการออมเงินใหม่ได้?

วิธีการ : สร้างเป้าห ม ายระยะย าวสำหรับการออมเงินให้ตัวเอง ว่าเราต้องการออมเงินเพื่ออะไร ซื้ อ บ้าน ซื้ อ รถ ดูแลครอบครัว ซื้ อ คอนโด ฯลฯ มีเป้าห ม ายชัดเจนในการออมเงิน

แล้วใช้เป้าห ม ายนี้เตือนตัวเองว่าเราต้องออมเงินไปเพื่ออะไรหากเรามีเป้าห ม ายชัดเจนสำหรับการออมเงิน ว่าเราต้องการออมเงินไปเพื่ออะไรแม้ว่าจะเป็นการออมเงินเพื่อ การมีเงินสะสม

เพื่ออนาคตที่สุขสบาย ก็ยังเป็นเป้าห ม ายที่ดีค่ะ แล้วเราก็ใช้เป้าห ม ายเหล่านี้แหละค่ะมาเตือนตัวเองเวลาเราคิดจะแคะกระปุกเอาเงินไปใช้ ว่าเราอุตส่าห์อดทนออมเงินเพื่ออะไรกันแน่

พอเรานึกถึงเป้าห ม ายแล้ว รับรองว่าสามารถเอาชนะใจตัวเองได้แน่นอนค่ะ

3. หยอดกระปุกออมสิน

หยอดกระปุก เรื่องเด็กๆ แต่บางคนหยอดกระปุกก็จริงแต่ก็แคะกระปุกมาใช้ตลอด แบบนี้ก็เก็บเงินไม่อยู่เหมือนกันนะคะ จริงๆ แล้วการหยอดกระปุก จะให้ดี เราควร

ทำการแบ่งกระปุกออ กเป็นหลายๆ จุดประสงค์ แต่ละกระปุกก็มีเป้าห ม ายที่แตกต่างกันไปค่ะ

วิธีการ : หากระปุกออมสิน มาหลายๆ ใบ นำกระดาษเขียนจุดประสงค์การเก็บเงิน ของแต่ละกระปุกมาแปะไว้ที่กระปุก เช่น สำหรับเที่ยวสงกรานต์ปี 59 ซื้ อ นาฬิกาใหม่ซื้อโทรศัพท์ใหม่

ซื้ อ แล็บท็อปใหม่ เป็นต้น อย่าลืมแบ่ง 1 กระปุกไว้สำหรับการออมเงินด้วยนะคะคุณอาจจะแบ่งหยอดกระปุก วันละ 10-20 บาทต่อ กระปุกหยอดโดยแบ่งจากจำนวนเงินที่เหลือใช้รายวัน

รายสัปดาห์ก็ได้ค่ะ ทีนี้ก็มีเงินสะสมเพื่อใช้ซื้ อ โน่นนี่แล้วยังมีแล้วแบ่งเงินหยอดกระปุกสำหรับการออมเงินอีกด้วยค่ะได้ประโยชน์รอบตัวเลย

4. เก็บแบงค์ 50 บาท

เป็นวิธีออมเงินที่ง่ายอีกอย่างที่เราสามารถทำได้วันนี้เลยนะคะ เก็บแต่แบงก์ 50 บาทค่ะ

วิธีการ : ได้แบงก์ 50 บาทมาเมื่อไหร่ เก็บเมื่อนั้น ซุกไว้ใน มุมมืด ของกระเป๋าตังค์ กลับบ้านก็เอาไปหยอดใส่กระปุก หรือ กระป๋องที่เราเตรียมไว้ พอ กระปุกเต็ม

หรืออาจจะครบระยะเวลาที่เรากำหนด ก็นำเงินส่วนนี้ไปฝากธนาคาร ง่ายม้๊ยคะ สมัยนี้แบงก์ 50 บาทก็เรียกได้ว่ายังเป็นแบงก์ที่ได้ไม่บ่อยคนใช้ไม่เยอะ คิดซะว่า

เป็นของหาย าก ต้องเก็บรักษ า ถึงเดือน หรือทุก 2-3 เดือนก็เอาไปฝากธนาคาร บางคนใช้วิธีนี้เก็บเงินได้เป็นหมี่นๆ นำเงินเก็บไปเที่ยวต่างประเทศได้เลยก็มีค่ะ

5. ไม่ยึดติดแบ รนด์ เน ม

พวกเสื้อผ้า ของใช้ต่างๆ ไม่จำเป็นต้องใช้ของแบร นด์ เน ม ก็ได้นะคะ เลือ กยี่ห้อที่ราคาดี คุณภาพดี คุ้มค่ากับราคา ใช้งานได้นานๆ จะดีกว่าเลือ กของแพงๆเพราะจะได้ใช้แล้วดูดีค่ะ

วิธีการ : เลือ กสินค้า ของใช้ที่คุณภาพและ ความเห ม าะสมของคุณภาพและราคา โดยใช้จุดประสงค์ที่เราต้องการซื้ อ เป็นหลัก หากเราเป็นนักธุรกิจ อาจจะลงทุ นเพื่อสั่งตัดชุดทำงาน

ชุดเก่งสัก 2 ชุดที่ดูดี เวลาเราต้องออ กไปพบลูกค้า หรือหุ้นส่วนหรือเข้าประชุม ส่วนนอ กจากนั้นอาจจะซื้ อ เสื้อโปโล หรือเสื้อเชิ้ตที่ดูดี ไม่ได้ต้องแพงใส่วันทำงานธรรมดาแทนก็ได้ค่ะ

ของแบบนี้มิกซ์แอนด์แมทช์ได้อยู่แล้ว ทีนี้ก็มีเงินเก็บได้อีกเพียบเลยค่ะ

6. เปิดบัญชีฝากประจำระยะย าว

หากเราเป็นคนที่ใจอ่อนกับตัวเอง วิธีการบังคับตัวเองให้ออมเงินอีกอย่าง คือ การเปิดบัญชีเงินฝากประจำระยะย าว อาจจะเริ่มที่ 5 ปีก่อน แล้วค่อยขยับขย ายก็ได้ค่ะ

วิธีการ : เปิดบัญชีเงินฝากประจำ เริ่มต้นที่ฝากประจำ เป็นเวลา 5 ปี แล้วฝากเงินจำนวนเท่าๆ กันในบัญชีนั้น ทุกๆ เดือน โดยใช้ระบบการตัดยอดเงินอัตโน มัติตามจำนวน และระยะเวลา

ที่เราต้องการ แล้วนำฝากเข้าบัญชีฝากประจำทุกเดือนเพราะว่าบัญชีเงินฝากประจำเราจะไม่สามารถนำเงินออ กมาได้จนกว่าจะครบกำหนดระยะเวลา การตั้งให้มีการตัดเงิน โ อ นเงิน

อัตโน มัติจะทำให้เราไม่ต้องคิดมาก ไม่ต้องไปโ อ นเงิน หรือฝากเงินด้วยตัวเอง ไม่ต้องทำบัตร A T M ด้วยค่ะ แค่นี้

เราก็มีเงินเก็บทุกๆ เดือนแน่นอนแล้วค่ะ

7. พกเงินน้อยลง

หากเราเป็นอีกคนที่ใช้เงินเก่ง เก็บเงินไม่เก่ง มีเท่าไหร่ใช้ได้หมดเท่านั้น แปลว่าเราเป็นคนพกเงินเยอะ ก็ใช้เยอะ แล้วถ้าพกเงินน้อยล่ะ?

วิธีการ : พกเงินติดตัวจำนวนน้อยกว่าที่เคย อาจจะใช้ระบบการคำนวณ ค่าใช้จ่ายรายวันว่าเราใช้เงินต่อสัปดาห์เท่าไหร่ แล้วพกพอดีเท่านั้นและ คอยเตือนตัวเอง

ว่านี่คือเงินที่เราต้องใช้ทั้งสัปดาห์นะไม่ใช่ใช้หมดใน 1 วัน แล้วถอนเงินเป็นรายสัปดาห์แทนที่จะถอนเมื่อเงินหมด ก็จะสามารถช่วยคุณออมเงินได้เช่นกันค่ะ

8. งดใช้บั ตร เ ค ร ดิ ต

จำกัดการใช้บั ตร เ ค ร ดิ ตเพื่อชำระค่าใช้จ่าย ประจำเดือนเท่านั้น แทนที่จะใช้บั ตร เ ค ร ดิ ตในการซื้ อ สินค้าค่ะ

วิธีการ : ใช้บั ตร เ ค ร ดิ ตเพื่อ การชำระค่า ใช้จ่ายรายเดือน เช่น ค่าเช่า ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ผ่ อน สินเชื่อ หรือหากต้องซื้ อ สินค้าชิ้นใหญ่ ราคาแพง เช่นต้องซื้ อ ตู้เย็นใหม่

เครื่องซักผ้า ฯลฯ ถึงใช้บั ตร เ ค ร ดิ ตไม่ใช้บั ตร เ ค ร ดิ ตในการช็อปปิ้งสินค้าฟุ่มเฟือย หรือสินค้าจุกจิกค่ะเพราะแบบนั้นจะทำให้เราเผลอใช้บั ตร เ ค ร ดิ ตบ่อยมาก ทำให้มียอดจุกจิก

เต็มไปหมด แต่ยอดจุกจิกเนี่ยล่ะค่ะ รวมๆ กันแล้วมันกลับเยอะเผลอๆ จะจ่ายไม่ไหวเอา ก็จ่ายได้แค่ขั้นต่ำ ทำให้เราต้องเสีย ด อ ก เบี้ย ตามมาใช้แต่พอดีนะคะ จะได้มีเงินออมกันค่ะ

9. ลดค่าใช้จ่าย

วันๆ หนึ่ง คนทำงานต้องกินต้องใช้ กาแฟ ชา ขน ม น ม เนย ของขบเคี้ยวแก้ง่วง ถ้าซื้ อ บ่อย ซื้ อ ประจำ ก็เปลืองเงิน อะไรลดได้ก็ลดดีกว่าค่ะ ถือซะว่าเป็นการล ด น้ำ ห นั ก ไปในตัวด้วยเลย

วิธีการ : ลดการซื้ อ ชา กาแฟ เปลี่ยน มาซื้ อ ช า เป็นกล่อง กาแฟผงชงเอง ลดปริมาณขน มขบเคี้ยวที่รับประทานประจำวัน วางแผนอาห าร การกินของตัวเองจริงๆ แล้วหากเราทำกับข้าว

เองอยู่แล้ว เราก็สามารถทำกับข้าวเพิ่มตอนกลางคืนแล้วนำที่เหลือใส่กล่องมารับประทานที่ออฟฟิศแทนก็ได้นะคะเป็นการลดค่าใช้จ่ายแถมได้กินคลีน กินอาห ารดีๆ อีกด้วยค่ะ แล้วก็ไม่ได้

เป็นการเพิ่มสิ่งที่เราทำประจำวันแต่อย่างใดเลยด้วยค่ะจริงๆ แล้วคนทุกคนสามารถเก็บออมเงินได้ทุกคนนะคะเพียงแค่เราจะต้องตั้งใจสร้างวินัยในการออมเงินของเราให้ได้เสียก่อน ตั้งใจว่า

จะเก็บเงินจริงจัง ตั้งเป้าห ม ายการออมเงินให้ตัวเอง แล้วใช้เป้าห ม ายนี้ล่ะค่ะในการเตือนตัวเองเราก็จะสามารถเก็บออมเงินได้อย่างแน่นอน

meko

Share
Published by
meko