เคล็ดลับการออมเงิน สำหรับคู่รัก

ปัจจุบัน มีคู่รักหลายคู่ที่เข้าใจเรื่องการวางแผนการเงินก่อนแต่งงานแบบผิดๆ นั่นคือ วางแผนแค่ช่วงระยะเวลาสั้นๆเท่านั้น เช่นช่วงค่าใช้จ่ายสำหรับงานแต่งงาน

และการสร้างเรือนหอแต่ไม่วางแผนการเงินให้ครอบคลุมไปถึงเรื่องอื่นๆด้วย เช่นการเตรียมความพร้อมสำหรับการมีบุตร การสร้างกิจการเพื่อครอบครัว และค่าใช้จ่ายในยามเกษียณ เป็นต้น

ไม่มีความลับต่อ กัน

การมีความลับต่อ กัน ไม่ถือว่าเป็นเรื่องดีสำหรับการใช้ชีวิตคู่ ก่อนอื่นคุณต้องคุยกันอย่างเปิดอ ก ถึงรายละเอียดในด้านการเงินของแต่ละบุคคล

เช่น รายได้ในปัจจุบันของทั้งสองฝ่าย รวมไปถึงยอดหนี้สินที่อาจจะมี และสินทรัพย์ต่างๆ เช่นที่ดิน เงินสดในธนาคาร และอื่นๆอีกมากมาย

อย่าลืมว่าชีวิตคู่อาจมีความไม่แน่นอน เพราะคุณสองคนอาจเลิกรากันเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้น การทำสัญญาก่อนสมรสถือเป็นสิ่งที่ควรทำก่อนแต่งงาน

เพื่อรักษาสิทธิ และความชอบธรรมของทั้งสองฝ่าย และที่สำคัญห้ามมีความลับต่อ กันเป็นอันขาด เพราะการมีความลับต่อ กัน มักจะนำมาซึ่งปัญหาความไม่ไว้วางใจกันและเกิดเป็นการทະ เลาະกันได้นั่นเอง

เปิดบัญชีกองกลางร่วมกัน

เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายภายในครอบครัว เช่น ค่าอาหาร, ค่าสาธารณูปโภค, ค่าเทอมลูกๆ ,ค่าสันทนาการต่างๆ เป็นต้น โดยตกลงกันให้เรียบร้อยว่าจะแบ่งรายได้มาเก็บร่วมกันคนละเท่าไหร่ หลังจากนั้นก็ให้คนหนึ่งเป็นผู้จัดการค่าใช้จ่ายทั้งหมด ทำหน้าที่รักษาบัญชีและบริหารการเงินภายในบ้านโดยไม่บกพร่อง

อย่าลืมว่าความซื่อสัตย์เป็นสิ่งจำเป็นต่อ การใช้ชีวิตคู่ คุณต้องมีการชี้แจงเรื่องรายรับรายจ่ายอยู่เป็นระยะๆ และแจ้งยอดเงินคงเหลือให้อีกฝ่ายทราบอยู่เสมอ

เพื่อช่วยกันวิเคราะห์ทิศทางทางการเงิน และหาแนวทางประหยัดค่าใช้จ่ายร่วมกัน เพื่ออนาคตทางการเงินที่ดีของครอบครัวคุณ

แต่หากใครที่อยากมีความเป็นส่วนตัวในการใช้จ่ายเงิน มากหน่อย ก็อาจจะแยกบัญชีส่วนตัวกันไว้ต่างหาก โดยในเดือนหนึ่งอาจจะนำมาเข้ากองกลางไว้สัก 80% และใส่บัญชีส่วนตัวสัก 20% ก็ได้

เตรียมความพร้อมสำหรับสถานการณ์ฉุ п เ ฉิ น

อย่าลืมที่จะเตรียมความพร้อมสำหรับสถานการณ์ฉุ п เ ฉิ นอยู่เสมอ เช่น การทำประกันภัย-ประกันชีวิตในรูปแบบต่างๆ หรือแผนรองรับในเรื่องต่างๆ อาทิ

เช่น คนในครอบครัวเกิดอุบัติเหตุ, ค่าซ่อมรถด่วน, กรณีที่เกิดเพลิงไหม้ จะสร้างบ้านใหม่อย่างไร เป็นต้น เหล่านี้ถือเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้ามโดยเด็ดขาด

เพราะค่าใช้จ่ายในสถานการณ์ฉุ п เ ฉิ นนั้น มักมีเข้ามาในชีวิตได้เสมอ ซึ่งหากเราไม่เตรียมไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ ก็อาจจะทำให้มีปัญหาการเงินเมื่อวันนั้น มาถึงได้

ตกลงกันให้แน่นอนในเรื่องการควบคุมค่าใช้จ่าย

ควรตกลงกันให้เรียบร้อย ว่าใครจะเป็นฝ่ายควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนไหนบ้าง แบ่งหน้าที่กันให้ชัดเจน และทำหน้าที่นั้นๆให้ดีที่สุด

เช่น ภรรยาเป็นฝ่ายจัดการค่าใช้จ่ายภายในบ้าน อัตราค่าใช้จ่ายต่อเดือน เดือนละกี่บาทก็ว่ากันไป ,หรือฝ่ายสามีเป็นผู้จัดการค่าใช้จ่ายต่างๆภายนอ ก เช่น ชำระบัตรเครดิต, ซื้อของเข้าบ้าน ด้วยงบประมาณตามที่กำหนดไว้ โดยดึงมาจากเงินกองกลางเป็นหลัก

ทันทีที่ต่างฝ่ายต่างได้รับรายได้ ควรนำมารวมกันและแบ่งออ กเป็นส่วนๆ เผื่อเหลือเผื่อขาดไว้สักประมาณ 10% ที่เหลือ ก็แบ่งเก็บเป็นเงินส่วนตัวบ้าง เพราะอนาคตนั้นไม่มีความแน่นอน

พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงได้เสมอ

ความเปลี่ยนแปลง ถือเป็นเรื่องธรรมดาของมนุษย์ ชีวิตคู่ก็เช่นกัน ดังนั้น คุณจึงต้องเตรียมความพร้อมให้กับตัวเองอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้

เช่น การตกงานของอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งอาจกระทบกระเทือนอย่างมากกับเรื่องค่าใช้จ่ายภายในบ้าน และค่าเล่าเรียนลูก, เรื่องของการลงทุนทำกิจการ

ที่ไม่ได้รับการยอมรับจากอีกฝ่าย แล้วประสบกับสภาวะการขาดทุนขึ้น มาในอนาคต, ปัญหาสุขภาพ และ กรณีหย่าร้างที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เป็นต้น

ดังนั้น นอ กจากเงินกองกลางแล้ว อีกก้อนหนึ่งที่ต้องมีคือ เงินสำรองสำหรับค่าใช้จ่ายฉุ п เ ฉิ น คุณอาจจะเก็บในรูปแบบของบัญชีส่วนตัวคนละเล่ม หรือออมไว้ในรูปแบบต่างๆ เช่น กองทุนรวม, สลากออมสิน และประกันชีวิต เพื่อที่จะดึงเอามาใช้จ่ายได้ในยามฉุ п เ ฉิ น หรือไม่ต้องกังวลในยามที่เลิกรากันไปแล้วนั่นเอง

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *