ข้อคิดสอนใจ

เทคนิค เก็บเงินแสน ใน 1 ปี

ทุกคน มีความฝันที่อยากมีบ้านเป็นของตัวเอง และได้มีการวางแผนจะซื้อบ้านหรือคอนโด การศึกษาข้อมูลและเตรียมตัวไว้ตั้งแต่แรกถือเป็นเรื่องที่ดี แต่จะดีกว่าไหมถ้าคุณมีเงินเก็บอยู่ใน มือแล้ว 1 แสนบาท จะสานฝันอะไรก็สามารถเป็นจริงได้

แบ่งบัญชีใช้งานให้ชัดเจน

ส่วนนี้หลายคนเคยทำมาบ้างแล้ว แต่จะมีในบางเที่ดือนที่เงินไม่พอใช้ เลือ กจะเลือ กวิธีการขอยืมเงินส่วนอื่น มาใช้ก่อน แล้วส่วนใหญ่แน่นอนเลยว่าก็ไม่ได้นำเงินส่วนที่ยืมมาคืนกลับที่เหมือนเดิม

ดังนั้น ถ้าอยากเก็บเงิน 1 แสนบาทไว้ในครอบครองไวขึ้น ต้องมีความเด็ดขาดมากกว่านี้ แยกบัญชีให้ชัดเจนเลย บัญชีเงินเก็บห้ามใช้ บัญชีเงินสำรอง บัญชีรายจ่ายจำเป็นแต่ละเดือน

บัญชีใช้จ่ายให้ความสุขตัวเอง บัญชีเงินใช้กินใน 1 เดือน เป็นต้น เพื่อเราจะได้เห็นจำนวนเงินที่เราสามารถใช้ได้จริงมากขึ้น และส่วนนี้จะทำให้เราเป็นหนี้ได้น้อยลงด้วย

การเก็บเงิน 1 แสนบาทเป็นรายวัน

การเก็บเงินตามจำนวนวัน เป็นสิ่งที่นิยมทำกัน เพราะดูจากมูลค่าที่เก็บแล้วไม่ได้มากมายเลย ตัวอย่างเช่น วันที่ 1 เก็บ 1 บาท วันที่ 2 เก็บ 2 บาท วันที่ 365 เก็บ 365 บาท ใน 1 ปี จะได้เงินประมาณเกือบ 70,000 บาทเลย

แต่เก็บสูงสุดเพียงแค่หลักร้อยเท่านั้น หรือบางคนอาจมีวิธีการใช้เงินวันละ 300 บาท ถ้าเหลือ ก็นำมาหยอดกระปุก ก็ถือว่าเป็นวิธีการเก็บเงิน 1 แสนบาท ฉบับมนุษย์เงินเดือนที่ไม่กดดันตัวเองมากเกินไป

การเก็บเงินแบบรายเดือน

ในบางคนการเก็บเงินรายวันไม่ถนัดเพราะค่อนข้างเก็บถี่เกินไปเลยเปลี่ยนวิธีการมาแบ่งเก็บเงินรวดเดียวเลยเป็นรายเดือน ถ้าต้องการเก็บเงินให้ได้ 1 แสนบาท จะต้องทำการแบ่งเก็บประมาณเดือนละ 8,400 บาท

อาจจะนำไปฝากธนบัตรรัฐบาล กองทุนเพื่อเพิ่มมูลค่าของเงินให้เพิ่มขึ้น หรือบางคนน่าจะเคยเก็บกันเยอะ แบ่ง 10%-20% ของเงินเดือน อันนี้ก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ดี อย่างน้อยเราก็ได้ตั้งใจเก็บ เมื่อทำต่อเนื่องเรื่อย ๆ เงินก็จะมีมูลค่าเพิ่มถึง 1 แสนบาทได้

การเก็บเงิน 1 แสนบาทต้องใช้ความตั้งใจ

“ความตั้งใจ” ในการทำทุกสิ่งที่ตั้งใจไว้ หากถ้าไม่ชัดเจนและแน่วแน่พอ มีหลายคนที่ต้นล้มเลิกหรือเลื่อนเป้าห ม ายในการเก็บเงินไว้ออ กไป เพราะความตั้งใจไม่พอหรือมีเรื่องจำเป็นที่ต้องใช้เงิน

เพราะการเก็บเงินจริง ๆ แล้วมีหลายวิธีการมาก และก็ไม่ได้ยากกเกินกว่าจะทำได้ อยู่ที่ตัวคุณเองมีใจที่จะทำให้สำเร็จหรือเปล่า

ไม่ว่าอย่างไรก็ตามแต่การเก็บเงินต้องไม่เครียดหรือ กดดันไปตัวของคุณเองมากเกินไป คุณต้องมีความสุขและสนุกกับการเก็บเงินก่อน เพราะถ้าคุณเลือ กวิธีที่ไม่เห ม าะกับคุณแล้วและยิ่งมีความมุ่งมั่นไม่ชัดเจน การเก็บเงินในครั้งนี้ ก็จะอยู่กับคุณไม่ได้นาน

ลดการซื้อของไม่คุ้มการใช้งาน

ข้อนี้เชื่อได้เลยว่าหลายคนเป็น เวลาต้องการซื้ออะไรสักอย่างต้องเลือ กที่ดีที่สุด หรือบางคนซื้อไว้เผื่อได้ใช้งานจริง ๆ ซึ่งบางครั้งอาจจะเกินความจำเป็นใช้งานของเราไป เนยิ่งกับพวกสินค้าไอที โทรศัพท์

หรืออุปกรณ์เสริมต่าง ๆ แต่ละชิ้นราคาหลักหมื่นขึ้นทั้งนั้นเลย แน่นอน มี 1 อย่าง อย่างที่ 2, 3 และ 4 ต้องตามมา แต่ตามหลักความเป็นจริงแล้ว การซื้อมาฟังก์ชั่นครบจัดเต็ม

แต่ความจำเป็นของคุณจริง ๆ ได้ใช้ขนาดนั้นหรือไม่ ใช้งานได้ 100% ของค่าของที่ซื้อไปไหม แต่ถ้าใครคิดว่าบริหารการเงินไหว หาจากส่วนอื่นก็ได้ ตรงจุดนี้ก็แล้วแต่ความสะดวกของแต่ละคนในการเก็บเงิน

อย่าให้รางวัลตัวเองมากเกินไป

หลาายครั้งมักจะได้ยินบ่อยมากกับคำที่ว่า “ทำงานเหนื่อยขนาดนี้ขอนิดนึงให้รางวัลตัวเองหน่อย” ความจริงก็ไม่ได้ผิดอะไรให้ได้ แต่ถ้าคุณมีความตั้งใจที่จะเก็บเงินจริง ๆ ก็ลองเปลี่ยนจากการซื้อของให้รางวัลตัวเองเปลี่ยน มาเป็นเงินเก็บเข้าบัญชีดู

เว้นแต่อยากได้มาก ๆ รอช่วงสินค้าลดราคา ก็ไม่ได้เสียหายอะไรบาง ส่วนนี้ถ้าปรับได้ก็จะเป็นอีกหนึ่งทางเลือ กในการเก็บเงิน แต่ถ้าอยากทยอยซื้อของแต่งบ้าน

เก็บเงินวันละ 275-300 บาท

ส่วนนี้เป็นอีกหนึ่งวิธีของการเก็บเงินรายวัน ถ้าคนที่มีฐานเงินเดือนค่อนสููงหน่อย ก็อาจเก็บเป็นค่าแรงขั้นต่ำไป แต่ถ้าฐานเงินเดือนไม่ได้สูงมากก็อาจจะหาเป็นรายได้เสริมเพื่อให้จำนวนเงิน มีมากขึ้น

หรือแบ่งครึ่งเพื่อเก็บก็ได้ ถึงระยะเวลาอาจจะนานขึ้นหน่อย แต่อยากน้อยเราได้เริ่มลงมือทำและทำอย่างต่อเนื่อง การเก็บเงิน 1 แสนบาทก็จะเพียงแค่เอื้อมมือ

สลับทำอาหารกินเองบ้างก็ได้

อาหารในชีวิตประจำวันนี้ถ้าซื้ออย่างราคาถูกเลยก็อยู่ที่ประมาณ 50 บาท 1 วันก็จะตกประมาณ 150 บาท แล้วถ้า 1 ปี ก็จะอยู่ที่ประมาณ 18,250 บาท ซึ่งส่วนนี้เรายังไม่รวมค่าบุฟเฟ่ต์

และค่าเฟ่ขน มหวานนะ แต่ในทางกลับกันถ้าใครสะดวกพอที่จะทำอาหารกินเองได้บ้าง 150 บาท ก็สามารถซื้อเนื้อสั ต ว์ได้เป็นกิโล สามารถยืดระยะเวลาในการใช้เงินส่วนนี้ไปได้ ทำให้เราประหยัดขึ้นได้หลายบาทเลยทีเดียว

ชงกาแฟหรือน้ำหวานเองบ้างก็ได้

คล้ายกับทำอาหาร เรื่องของเครื่องดื่มก็เช่นกัน บางคนติดกาแฟหรือน้ำหวานต้องซื้อ กินทุกวันเพื่อเติมความสดชื่น ในราคากลางที่ส่วนใหญ่ซื้อ กันก็อยู่ที่ประมาณ 60-120 บาทต่อแก้ว

ถ้าเรากินแบบนี้ทุกวันตลอดระยะเวลา 1 ปี จะเป็นเงินประมาณ 22,000 บาท อาจจจะลองปรับมาเป็นทานของฟรีที่บริษัท หรือซื้อเป็นแพ็คมาชงกินเองบางสลับกัน เพื่อไม่ให้เกิดความกดดัน

หรือความอยากมากขึ้น แต่หากใครไม่สะดวกจริง ๆ ลองเปลี่ยน มากินราคาที่ถูกลงกว่านี้หน่อย ทุกวันนี้ ร้านที่ราคาไม่แพงแก้วละ 20-30 บาท อร่อยถูกปากก็มีให้เห็นหลายร้านอยู่

การเข้าสังคม เที่ยวน้อยลงบ้างก็ได้

เข้าใจว่าทำงาน มาหนักเหนื่อย อยากพักผ่อน หาความสุขสนุกเข้าตัวบ้าง ก็ถือว่าไม่ได้เป็นเรื่องที่เสียหายอะไร แต่ในบางคนเป็นต้องเจอ กันทุกศุกร์

เก็บเงินจ่ายเงิน มาแต่ละรอบก็เล่นเอาหนักหน่วง ถ้าลดค่าใช้จ่ายในเรื่องนี้ลงได้บ้าง ก็จะมีส่วนของเงินเก็บให้ถึง 1 แสนได้เร็วขึ้น

meko

Share
Published by
meko