ข้อคิดสอนใจ

คำแนะนำสำหรับคนที่มีหนี้ แต่อยากออมเงิน

หลายคนที่มีหนี้อยู่มีคำถามว่า อยากจะออมเงินทั้งที่มีหนี้อยู่แบบนี้ จะทำได้หรือไม่ ที่จริงแล้วก็ไม่ได้มีกฎอะไรต า ยตัวที่บอ กว่าคนเป็นหนี้จะออมเงินไม่ได้

มันเป็นเรื่องของการวางแผนการเงินและการบริหารเงินของเราเพื่อใช้ในเรื่องต่าง ๆ อย่างเห ม าะสม ว่าจะใช้กี่ส่วน จะเก็บกี่ส่วน และจะใช้หนี้กี่ส่วน …คนที่มีหนี้อยู่ แต่อยากออมเงิน อยากให้ลองถามคำถามต่อไปนี้กับตัวเองดูก่อนว่า…

เรามีเงินออมอยู่บ้างหรือยัง

ถ้ามีเงินเท่าไหร่ก็เอาไปจ่ายคืนหนี้หมด ก็คงไม่เหลือเงินไว้ทำอย่างอื่นแน่ ๆ คนเราบางครั้งก็มีเรื่องฉุ п เ ฉิ นให้ต้องใช้เงิน อาจมีวันใดที่มีใครในครอบครัวเจ็บป่วย หรือ อยู่ดีๆบริษัทอาจเลิกจ้างเราขึ้น มา

ถ้าไม่มีเงินเหลือไว้ใช้บ้างเลย ก็ลำบากแน่ ๆ ตามตำราเขาบอ กไว้ว่าคนเราควรมีเงินออมไว้เผื่อใช้ในยามฉุ п เ ฉิ นแบบนี้ ประมาณ 6 เท่าของรายได้ปัจจุบันของเรา

สูตรนี้ก็มีที่มาจากว่าถ้าเราตกงานไม่มีงานทำ อย่างน้อยเงินจำนวนนี้ก็จะช่วยให้เราอยู่ได้อีกอย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เราน่าจะหางานใหม่ได้ ถ้าเก็บมากขนาด 6 เท่าของเงินเดือนไม่ได้ อย่างน้อยก็ต้องมี 1-2 เท่าของเงินเดือนไว้ให้อุ่นใจ

หนี้ที่มีเป็นหนี้ระยะสั้นหรือหนี้ระยะยาว

ก่อนที่เราจะอยากเก็บออมเงิน ทั้ง ๆ ที่ยังมีหนี้อยู่ เราต้องหัน มาดูก่อนว่าหนี้ของเราเป็นหนี้ระยะสั้น ที่เหลือเวลาจ่ายอีกแค่ไม่นานนักก็จะหมดแล้วหรือเป็นหนี้ระยะยาวที่มีระยะเวลาอีกยาวไกลกว่าจะจ่ายหนี้ได้หมด

เช่น ถ้าเป็นหนี้บ้านที่ต้องผ่อนอีก 30 ปีกว่าหมด กว่าจะรอให้หนี้หมดค่อยออมเงิน คงไม่ต้องมีเงินเก็บกับเขาเสียทีแน่ๆ เราก็ออมเงินไปพร้อม ๆ กับการจ่ายคืนหนี้บ้านไปด้วยก็ได้

ก่อนเลือ กโปรแกรมผ่อนบ้าน ควรเลือ กผ่อนค่างวดที่เราสามารถผ่อนแบบสบาย ๆ ไม่หนักจนเกินไป ให้เรามีเงินเหลือพอที่จะใช้จ่ายหรือทำอะไรอย่างอื่นได้ด้วย

แต่ถ้าเป็นหนี้ระยะสั้นหรือหนี้ที่เหลือเวลาผ่อนไม่นานนัก ก็คงไม่ได้ผลอะไรกับเรื่องว่าเราจะเริ่มออมทันทีหรือจะรออีกสักหน่อย

หนี้ที่มีดอ กเบี้ยเท่าไหร่

หลักการง่าย ๆ ก็คือหนี้คิดดอ กเบี้ย 10% ต่อปี แต่เงินออมให้ดอ กเบี้ย 2% ต่อปี เราควรเอาเงินไปจ่ายหนี้ก่อน ยิ่งถ้าหนี้ที่มีเป็นหนี้บัตรเครดิต

หนี้บัตรกดเงินสดหรือหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลที่มีอัตราดอ กเบี้ยต่อปีสูงเกินกว่า 20% แล้วล่ะก็ อย่าเพิ่งคิดถึงเรื่องการออมเงิน แต่ควรที่จะชำระคืนหนี้พวกนี้หมดให้เร็วที่สุดจะดีกว่าค่ะ

ดอ กเบี้ยหรือผลตอบแทนที่เราจะได้จากการออมเงิน ฝากเงิน หรือลงทุนในอะไรก็ตาม คงจะหายากมากที่จะได้ดอ กเบี้ยสูงเท่ากับดอ กเบี้ยของบัตรเครดิตหรือบัตรกดเงินสดพวกนี้แน่ ๆ การเอาเงินไปออมแทนที่จะรีบมาคืนหนี้จึงเป็นเรื่องที่ดูจะไม่คุ้มกันเลย

คำถามเหล่านี้จะทำให้เรารู้ได้เองว่าเราควรรีบจ่ายหนี้ให้หมดก่อน หรือว่าเราออมเงินไปด้วยได้เลย หลายคนเมื่อหัน มาสำรวจตัวเองแล้วพบว่าหนี้ที่ตน มีอยู่นั้นคิดดอ กเบี้ยสูงมาก

แล้วลำพังแต่ละเดือนจะหาเงิน มาใช้หนี้ก็แทบจะไม่พออยู่แล้ว แต่ก็ยังแ อ บอยากมีเงินออมกับเขาบ้าง ที่จริงก็ไม่ได้ผิด คนเราก็มีสิทธิ์จะคิดได้ ถ้าเราอยากมีเงินออมเร็ว ๆ สิ่งที่พอจะทำได้ก็คือ

หาแหล่งเงินกู้ใหม่ที่ดอ กเบี้ยถูกลง หรือ รีไฟแนนซ์นั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นเงินกู้บ้าน หรือเงินกู้ประเภทอื่น ๆ ถ้ามีแหล่งเงินที่ให้ดอ กเบี้ยถูกกว่า

ค่าใช้จ่ายในการปิดหนี้ไม่ได้สูงจนไม่คุ้มที่จะรีไฟแนนซ์ ก็ลองพิจารณาดูได้ เมื่อเงินที่ต้องผ่อนต่อเดือนลดลง เราก็จะเหลือเงินที่จะไปเก็บออมเพิ่มขึ้นได้

ออม/ลงทุน พร้อมกับลดหย่อนภาษี ถ้าเราดูเฉพาะผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุน LTF/RMF หรือซื้อประกันชีวิต เราอาจรู้สึกว่ามันก็ไม่ได้เยอะพอ

แต่เราอาจลืมนึกถึงการประหยัดภาษีเงินได้ เมื่อนำมารวมกันแล้ว ผลตอบแทนอาจดูคุ้มค่าที่จะเลือ กออมหรือลงทุนก็ได้ บางคนก็ใช้สูตรเลือ กนำยอดรายได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในอัตราสูงสุดไปลงทุนเพื่อลดหย่อนภาษี

เช่น สมมติขั้นบันไดสูงสุดที่เราต้องเสียภาษีอยู่ที่ 20% มียอดรายได้ที่ต้องเสียที่ 50,000 บาท ก็เลือ กซื้อ LTF หรือประกันชีวิต เพื่อให้ประหยัดภาษีไปได้ 10,000 บาท

หารายได้เพิ่ม อีกวิธีที่จะทำให้ออมเงินได้ไปพร้อม ๆ กับการมีหนี้ ก็คือเราต้องหาเงิน มาเพิ่มให้ได้ ด้วยการทำงานให้มากขึ้น หาช่องทางที่เป็นอาชีพเสริมหลังเลิกงาน หรือวันหยุด ก็จะช่วยให้เรามีเงินเพื่อไปออมโดยที่ยังสามารถใช้หนี้ไปด้วยได้

ใช้สูตร 1:2:7 จากรายได้ 10 ส่วนให้เราจัดสรร โดยเก็บออม 1 ส่วน อีก 2 ส่วนนำไปใช้หนี้ 7 ส่วนสุดท้ายเก็บไว้ใช้จ่าย ถ้าอยากออมทั้งที่มีหนี้ก็ต้องบริหารรายได้เป็นส่วน ๆ ให้ได้ตามนี้

สัดส่วนนี้เปลี่ยนแปลงให้เห ม าะสมได้ เช่น บางคนอาจอยากจ่ายหนี้มากหน่อยจะได้หมดเร็ว ก็เลือ กวิธีประหยัดค่าใช้จ่าย สูตรก็จะเป็น 1:4:5 แบบนี้ก็ปลอดหนี้ไวขึ้น

เห็นไหมคะ เราไม่จำเป็นต้องเอาเงินทุกบาททุกสตางค์ไปจ่ายหนี้จนหมดไม่เหลือที่จะทำอะไร ชีวิตต้องดำเนินต่อไป ต้องมีค่าใช้จ่าย ต้องมีการลงทุน ต้องมีการออมเงิน

เลือ กวางแผนบริหารจัดสรรเงินรายได้ให้ดี แล้วชีวิตก็จะมีความสุข สำคัญที่เป็นหนี้แล้วต้องไม่ก่อหนี้เพิ่มจนดอ กเบี้ยทบเป็นหนี้ก้อนใหญ่ที่จ่ายไม่ไหว เพราะถ้าต้องเจอ กับสถานการณ์แบบนั้นเมื่อไหร่ ก็แทบไม่ต้องคิดถึงคำว่าออมเงินเลยค่ะ

meko

Share
Published by
meko