5 วิธีการเก็บเงินให้ได้ผลจริง

หลายคนอาจมองว่า วัยเรียนเป็นวัยที่ยังไม่มีรายได้เป็นของตัวเองและยังต้องพึ่งพาพ่อแม่ในเรื่องค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แต่รู้หรือไม่?

การเก็บเงินในวัยเรียนนี่แหละถือเป็นช่วงเวลาในการเริ่มต้นเก็บเงินที่ดีที่สุด และเผลอ ๆ อาจเก็บได้เป็นกอบเป็นกำมากกว่าที่คิดหากรู้จักทริคการบริหารจัดการอย่างถูกวิธี

1. ตั้งเป้าห ม ายให้ชัดเจน

ก่อนที่จะเริ่มตั้งเป้าห ม ายหรือสร้างตารางออมเงินใด ๆ อยากให้ทุกคนลองหาเวลาอยู่กับตัวเองสักพักนึงก่อน ให้สมองโล่ง ๆ จากนั้น มานั่งทบทวนกับตัวเองว่า

เราอยากมีเงินเก็บไปทำอะไร ภายใน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี หากคิดอะไรออ กก็ให้เขียนลงบนกระดาษและนำความคิดนี้มารวบรวมเข้าไว้ด้วยกัน

วิธีนี้จะช่วยให้เราลำดับความสำคัญและเห็นภาพสิ่งที่เราต้องการชัดเจน มากขึ้น โดยเราอาจตั้งเป้าไว้แตกต่างกัน

เช่น เราจะเก็บเงินเป็นเวลา 3 เดือนเพื่อไปดูคอนเสิร์ตศิลปินในดวงใจ หรือ เราจะเริ่มต้นเก็บเงินตั้งแต่ปีนี้

เพราะปีหน้าเราจะเรียนจบ และเงินก้อนนี้จะช่วยแบ่งเบาค่าใช้จ่ายในช่วงเริ่มหางานทำได้ เป็นต้น ซึ่งถ้าหากเราตั้งเป้าห ม ายชัดเจนแล้ว รับรองได้ว่า การตามหาวิธีออมเงินให้ได้เยอะ ๆ หรือ วิธีการเก็บเงินให้ได้ผลนั้น อยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมแน่นอน

2. แยกรายรับ-รายจ่ายในแบบที่เรารับไหว

เมื่อเป้าห ม ายชัดเจนแล้วก็อย่าเพิ่งดับเครื่องชนและประหยัดทุกค่าใช้จ่าย เพราะการเริ่มต้นเก็บเงินเช่นนี้จะทำให้เราเป็นทุกข์และเลิกล้มการออมเงินไปอย่างง่ายดาย

ดังนั้น การคิดจะเก็บต้องดูพฤติกรรมการใช้เงินของเราผ่านรายรับและรายจ่ายดูก่อน พออ่าน มาถึงตรงนี้ หลายคนอาจสงสัยว่า แล้วเราจะดูอย่างไร เงินของเดือนที่แล้วก็จำไม่ได้ว่าจ่ายอะไรไปบ้าง

เราอยากแนะนำให้ลองเริ่มจากเดือนนี้ที่เพิ่งได้รับเงินก้อน มาห ม าด ๆ และลองทำบัญชีรายรับรายจ่ายในทุก ๆ วันดู อาจจะไม่ต้องเป็นตารางยิ่งใหญ่อะไรมาก แต่ขอให้จดเอาไว้ว่า ตัวเองได้ซื้ออะไรไปบ้างก็เพียงพอ

นอ กจากจะเป็นความรู้พื้นฐานเรื่องวิธีเก็บเงินในวัยเรียนและวัยทำงานแล้ว การทำรายรับ-รายจ่ายยังช่วยให้เราเห็นถึงนิสัยการจับจ่าย และทำให้เรากลับมาทบทวนตัวเองอีกรอบว่า

ของแต่ละชิ้นที่ซื้อมา เราได้คิดพิจารณาอย่างถี่ถ้วนหรือไม่ และเมื่อเราได้ลองคิดและพิจารณาแล้วว่าของที่ซื้อมานั้นอาจไม่ได้จำเป็นขนาดนั้น เราก็จะเห็นช่องทางในการเพิ่มเงินเก็บที่มากขึ้น

แต่ทั้งนี้ไม่ได้แปลว่า เราไม่ควรซื้อของอะไรเลยถ้าไม่จำเป็น เพราะการซื้อของที่ดีต่อใจบางครั้งก็ช่วยเพิ่มกำลังใจในการเก็บเงินได้เหมือนกัน แต่อย่าซื้อเพลินจนลืมเป้าห ม ายการเก็บเงินครั้งนี้เท่านั้นเอง

3. แบ่งเงินใช้รายวันให้เท่ากัน และ เก็บเหรียญและแบงก์ 50 ทุกครั้ง

เมื่อรู้เท่าทันรายรับ-รายจ่ายของตัวเองแล้ว ปัจจัยที่จะเสริมการเก็บเงินในช่วงเรียนให้ได้ผลมากยิ่งขึ้นนั้นอยู่ที่การแบ่งค่าใช้จ่ายแต่ละวันให้เท่ากันและการเก็บเงินทุกบาททุกสตางค์ที่ใช้หลังจากวันนั้น ๆ หยอดใส่กระปุก

โดยอีกหนึ่งวิธีออมเงินฉบับนักเรียนและมนุษย์เงินเดือนที่ได้ผลมานักต่อนักแล้ว คือ การเก็บเหรียญและแบงก์ 50 ลงกระปุกทุกครั้งที่เจอ โดยเงินส่วนนี้อาจจะเหลือมาจากเงินที่ใช้จ่ายใน 1 วันก็ได้

โดยวิธีนี้ นอ กจากจะช่วยให้เราคุมค่าใช้จ่ายแต่ละวันได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังเป็นตารางออมเงินแบบกลาย ๆ ที่จะช่วยเพิ่มเงินเก็บให้เราในทุกวันอีกด้วย

วิธีคำนวณเงินง่าย ๆ คือ หลังจากหักเงินเก็บต่อเดือนที่วางแผนไว้ และค่าใช้จ่ายจำเป็นอย่างค่าหอ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าซักผ้า รวมถึงค่าของใช้ที่ต้องใช้ทุกเดือนแล้ว

ทุกคนไม่ว่าจะอยู่ในวัยเรียนหรือทำงานควรนำเงินที่เหลือมาหาร 30 แบบคร่าว ๆ และดูว่าเราไหวกับค่าใช้จ่ายเท่านี้หรือไม่ หากไม่ไหวอาจลองไปดูว่า รายการค่าใช้จ่ายรายเดือน มีชิ้นไหนที่ไม่จำเป็น และสามารถลดลงได้บ้างไหม เป็นต้น

4. ลองหางานพิเศษทำในเวลาว่างต่อวันที่มี

งานพิเศษเป็นอีกวิธีเก็บเงินในวัยเรียน และวัยทำงานที่ได้ผลเป็นอย่างมาก นอ กจากจะได้ประสบการณ์และได้ทดลองทำงานที่อาจอยากทำในอนาคตแล้ว

งานพิเศษยังช่วยให้เราได้เรียนรู้วิธีการเก็บเงินไปพร้อมกับการจัดสรรเวลาอีกด้วย โดยเราอาจเลือ กมองหางานที่ทำแล้วได้เงินที่เห ม าะสม รวมถึงงานต้องไม่กระทบต่อเวลาเรียนและเวลาทำทำงานหลัก

แต่สิ่งสำคัญที่เราอยากขอให้ระวัง คือ ก่อนเซ็นสัญญาทุกครั้ง อย่าลืมอ่านรายละเอียดทุกอย่างให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ก่อน

เพราะงานพิเศษบางแห่งอาจมีการซื้อยูนิฟอร์มและมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมรวมถึงช่วงเวลาทำงาน ดังนั้นต้องอ่านให้ละเอียดก่อนตัดสินใจทำ

5. แยกกระเป๋าเงินใช้กับเงินเก็บออ กจากกัน

การแยกเงินเก็บออ กจากกระเป๋าเงินใช้จ่ายได้อย่างชัดเจนจะช่วยทำให้การเก็บเงินในวัยเรียนและวัยทำงานได้ผลมากกว่าที่คิด

เพราะการทำเช่นนี้จะเป็นการเสริมวินัยทางการเงินที่ดี รวมถึงเป็นการป้องกันไม่ให้เราเผลอใจแ อ บใช้เงินเกินที่เราตั้งเป้า หรือแม้แต่แ อ บใช้เงินที่ตั้งใจจะเก็บออมด้วยนั่นเอง

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *