คุณพ่อคุณแม่แทบทุกคนน่าจะต้องเคยพบเจอสถานการณ์ที่ทำให้เผลอคิดหรือหลุดปากพูดออ กไปว่าทำไมลูกถึงได้ดื้ออย่างนี้
วิธีรับมือ กับเด็กดื้อให้ได้ผล
1.เด็กดื้อต้องใช้ท่าทีที่หนักแน่นและจริงจัง
เวลาที่ผู้ใหญ่ต้องการให้เด็กทำอะไรแล้วเด็กอิดเอื้อน ไม่ยอมทำ วิธีหนึ่งที่ได้ผลคือต้องพูดให้หนักแน่นและจริงจังว่าให้ทำเดี๋ยวนี้อาจต้องใช้ท่าทีประกอบด้วย เช่น ลุกขึ้น
จูงมือเด็กให้ไปทำสิ่งที่ต้องทำ เช่น เด็กอิดเอื่อนไม่ยอมทำการบ้ านแม้จะพูดเตือนแล้วหลายครั้ง แม่ต้องแสดงให้เห็นว่าแม่ห ม ายถึงว่าลูกต้องทำการบ้ านแล้วโดยบอ กด้วยเสียง
ที่หนักแน่นว่าเอาสมุดการบ้ านออ กมาแล้วนั่งลงทำเดี๋ยวนี้เลย ถ้าเด็กไม่ยอมลูกก็ต้องจูงมือไปเอาสมุด ดินสอมานั่งลงให้ทำและเฝ้าให้ทำถ้าจำเป็น
2. เด็กดื้อต้องใช้เหตุผล
การให้เหตุผลอย่างตรงไปตรงมาซึ่งเด็กสามารถเข้าใจ มักจะสามารถแก้ไขพฤติกรรมได้ในเด็กยิ่งเล็กการให้เหตุผลต้องแบบง่าย สั้นไม่พูดยืดย าว เช่น มีดเล่นไม่ได้เพราะ
จะบาดมือหนู หนูไม่ปีนขึ้นที่สูงเดี๋ยวจะตกลงมเ จ็ บ
3. เด็กดื้ออาจต้องการรางวัล
เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเห ม าะสมแล้ว เพื่อให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นอีกไม่หายไป ผู้ใหญ่ควรให้รางวัลสำหรับพฤติกรรมนั้นอาจเป็นการกล่าวชมด้วยวาจา แสดงกิริย าชื่นชม
พอใจในพฤติกรรมนั้น เช่น โอบกอด ลู บหัว ปัญหาคือผู้ใหญ่มักจะละเลยไม่กล่าวคำชมเชยเด็ก เพราะเห็นเป็นพฤติกรรมธรรมดาๆ เช่นเด็กยอมแปรงฟั นเองแต่งตัวเอง แต่จะดุว่า
หรือติเตียนเด็กเมื่อเด็กไม่ยอมช่วยตัวเอง การให้รางวัลเด็กอาจให้ได้อีกแบบคือ ให้เมื่อเด็กหยุดพฤติกรรมที่ไม่เห ม าะสม (Omission training) เช่น กล่าวชมเชยหรือให้รางวัล
แบบอื่นเมื่อลูกสองคนเล่นกันด้วยดีไม่ทະ เลาະไม่ตีกันในช่วงตลอดสองวันที่ผ่าน มา
4. เด็กดื้อต้องปล่อยให้สามารถแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
ควรให้เด็กรู้สึกว่าเมื่อมีความคิดเห็นอย่างไรก็สามารถพูดออ กมาได้อย่างอิสระ หรือมีความรู้สึกอย่างไรก็สามารถพูดคุยชี้แจงได้ เช่น เด็กอาจต้องการตัดสินใจเองในการเลือ ก
ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช่แม่เลือ กให้ แล้วเด็กต้องใช้ทั้งที่ไม่ชอบไม่ถูกใจ
5. เด็กดื้อต้องการเห็นแบบอย่างที่ดีของผู้ใหญ่ให้กับเด็ก
ผู้ใหญ่โดยเฉพาะพ่อแม่ควรทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับลูก พฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์นั้น มาเรียนรู้ภายหลังไม่ใช่ถ่ายทอดตามพันธุกรรมอย่างที่หลายๆ คนเข้าใจ เด็กจะเอา
อย่างผู้ใหญ่ที่อยู่ใกล้ชิด โดยดูจากการกระทำของผู้ใหญ่มากกว่าการสั่งสอนด้วยวาจา เช่นพูดสอนว่าการพูดปดเป็นสิ่งไม่ดีห้ามทำแต่พอมีคนที่พ่อแม่ไม่ต้องการพบมาพบ
ก็ใช้ลูกออ กไปบอ กว่า พ่อแม่ไม่อยู่บ้ าน การกระทำแบบนี้ก็เท่ากับสอนลูกว่าที่จริงพูดปดได้
6. เด็กดื้อต้องใช้สิ่งทดแทน
เวลาห้ามไม่ให้เด็กทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด ควรสอนเด็กไปด้วยว่าสิ่งไหนที่ทำแทนได้ เช่น เด็กเล่นของแหลมอยู่จะเอาจากมือเด็กก็ให้เอาของอื่นที่น่าสนใจกว่ามาให้เด็กแทน ไม่ควรหยิบ
ของแหลมจากมือเด็กเฉยๆ ซึ่งเด็กจะร้องอาละวาดต่อ หรือเห็นเด็กขีดเขียนฝาผนังบ้ านอยู่ห้ามไม่ให้ทำเพราะสกปรกบ้ าน ก็ควรหากระดาษมาให้เด็กได้เขียนแทน เป็นต้น
7. เด็กดื้ออาจต้องใช้การเลิกให้ความสนใจ
เป็นธรรมชาติของเด็กทุกคนที่ต้องการได้รับความสนใจจากผู้อื่น ฉะนั้น เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เราอาจใช้วิธีเลิกให้ความสนใจขณะที่เด็กกำลังกระทำพฤติกรรมนั้น
และให้ความสนใจหรือให้รางวัลกับเด็กที่มีพฤติกรรมที่เราต้องการแทน ตัวอย่าง เช่น ลูกคนหนึ่งกินอ าห า รดีอีกคนไม่ค่อยยอมกินเล่นไปเรื่อยๆแม่ก็อาจชมคนที่กินอ าห า รดีแต่เฉยๆ
ไม่แสดงความสนใจกับลูกคนที่ไม่ยอมกินแต่เขี่ยอ าห า รเล่นอยู่ โดยไม่จำเป็นต้องดุว่า
8. การลงโทษเด็กดื้อ
โดยทั่วไปจะพย าย ามไม่ใช้การลงโทษ นอ กจากวิธีอื่นๆ ที่กล่าวมาแล้วไม่ได้ผลสิ่งสำคัญที่สุดคือเวลาใช้การทำโทษนี้ผู้ใช้ต้องไม่ใช้ด้วยอารมณ์โกรธ เก ลี ย ดไม่ชอบเด็ก เพราะ
จะทำให้เด็กยิ่งต่อต้าน เวลาใช้ควรแสดงให้เด็กเห็นว่าเราต้องการเพียงหยุดพฤติกรรมที่ไม่เห ม าะสมเท่านั้นและพร้อมที่จะหยุดการลงโทษเมื่อเด็กคิดว่าสามารถควบคุมตัวเอง
ให้ไม่ประพฤติไม่เห ม าะสมอีก การลงโทษมีตั้งแต่เบาๆ จนไปถึงระดับที่รุ นแ ร งขึ้น ดังนี้
8.1 การดุว่า การดุว่าด้วยวาจาในเด็กบางคนก็ได้ผลดี สามารถหยุดการกระทำอันไม่สมควรของเด็ก ควรใช้เมื่อ การบอ กห้าม และการใช้เหตุผลไม่ได้ผลแล้ว
8.2 แยกเด็กออ กไปอยู่ตามลำพัง เช่น เด็กนักเรียนคนหนึ่งคุยมากขณะเรียน รบกวนคนอื่นบ่อยๆ ก็อาจแยกเด็กไปนั่งคนเดียว หันหน้าเข้ามุมห้อง ทำให้เด็กไม่สนุก เ บื่ อที่เด็กทั่วไปจะไม่ชอบอย่างมาก
8.3 การปรับ ให้เด็กรับผิดชอบกับของเสียหายที่เด็กทำไป เช่น เด็กคนหนึ่งโกรธแม่ที่ขัดใจ แล้ววิ่งไปถอนต้นไม้ของแม่ที่เพิ่งปลูก จึงให้แม่หักเงินค่าขน มเด็ก ทีละเล็กละน้อยชดใช้ค่าต้นไม้ที่ซื้อมา
8.4 การตี การตีอาจทำให้เด็กหยุดประพฤติที่ไม่พึงประสงค์ได้บางครั้ง แต่การใช้กำลังกับเด็กมีข้อเสียด้วย คือ ถ้าใช้บ่อยๆ จะทำล า ยความสัมพันธ์ ระหว่าง เด็กและผู้ใหญ่
และเด็กจะใช้วิธีรุ นแ ร งและใช้กำลังบ้ างเพราะเอาอย่างผู้ใหญ่และรู้สึกคับข้องใจที่ผู้ใหญ่ใช้วิธีรุ นแ ร งกับตน เช่น อาจไปชกต่อยเพื่อนที่โรงเรียนบ่อยๆ จนเป็นปัญหาเกิดขึ้น