6 ประโยชน์ของการออม ไม่ค่อยมีใครรู้

ในยุคปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้เลยว่าผู้คนส่วนใหญ่ หัน มาให้ความสำคัญกับการเก็บออมเงินกัน มากยิ่งขึ้น เนื่องด้วยปัญหาภาวะเศรษฐกิจไปจนถึงการมองอนาคตในภายหน้า

เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต่อ การดำรงชีวิต ซึ่งการออมเงิน มีหลายปัจจัยและหลายเหตุผลที่ทำให้คนหัน มาออมเงินกัน มากยิ่งขึ้น อีกทั้งพ่อแม่และผู้ปกครองหลายคนได้เริ่มปลูกฝังให้ลูกน้อยให้รู้จักเก็บออมเงิน

ตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อจะได้รู้จักการวางแผนการเงินให้อนาคต นอ กจากนี้การออมเงินไม่ได้มีประโยชน์เพียงทำให้บรรลุเป้าห ม ายที่วางไว้

เช่น ออมเงินเพื่อไปเที่ยวต่างประเทศ หรือออมเงินเพื่อจะซื้อบ้านในอนาคต เป็นต้น แต่เงินที่เก็บออมไว้ยังช่วยลดปัญหาสภาพคล่องจากการสะดุดของรายได้อีกด้วย

การออมคืออะไร?

การออมเงิน คือ การประหยัดรายได้ที่ไม่ได้ใช้จ่ายหรือไม่ได้นำไปใช้ในการบริโภคหรือรายได้ที่หักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้วมีส่วนคงเหลืออยู่ ซึ่งส่วนของรายได้ที่เหลือนี้เราแบ่งสำหรับเก็บ

การออมเงินเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัยมากมาย ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของเป้าห ม ายของอนาคตในความต้องการสิ่งต่าง ๆ เช่น การมีรถ การมีบ้าน การมีบัญชีเงินฝากตามจำนวนเป้าห ม ายที่ต้องการ ไปจนการออมเงินสำหรับการใช้จ่ายยามฉุ п เ ฉิ น เช่น การเจ็บป่วย การเกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น

ความสำคัญของการออมเงิน

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า การออมเงินเป็นปัจจัยที่ทำให้หลายคนสามารถบรรลุเป้าห ม ายที่กำหนดไว้ในอนาคต ไม่ว่าจะเพื่อจุดประสงค์ใดก็ตาม

เช่น การมีทรัพย์สินเป็นของตัวเอง มีเงินเก็บไว้ใช้ในยามจำเป็น นอ กจากนี้เงินออมยังช่วยเราแก้ปัญหาความเดือดร้อนทางด้านการเงินที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา

หรือยามเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด ของตัวเราหรือบุคคลในครอบครัวในเรื่องค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้เช่นกัน

การออมเงิน มีประโยชน์อย่างไร?

การออมเงิน ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมากทั้งต่อผู้ออม คนในครอบครัว ทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อประเทศได้เช่นเดียวกัน ซึ่งประโยชน์ของการออมเงิน มีดังนี้

1.ลดการผันผวนของการใช้จ่ายและเก็บไว้ใช้ยามฉุ п เ ฉิ น

โดยที่ไม่กระทบในส่วนของรายได้หรือค่าใช้จ่ายหลักอื่นของตัวเองและครอบครัว ซึ่งส่วนใหญ่แล้วคน มักจะนิยมออมเงินไว้เผื่ออนาคตเกิดมีเหตุฉุ п เ ฉิ นทางด้านการเงินต่าง ๆ เช่น การขาดทุนจากธุรกิจ เก็บไว้ใช้เมื่อยามขาดรายได้ ตกงานหรือมีเรื่องต้องใช้เงินก้อนใหญ่แบบไม่คาดคิด

2.ความมั่นคงในชีวิต

สำหรับการออมเงิน คนส่วนใหญ่จะมีแผนการใช้เงินล่วงหน้าและจุดประสงค์ที่ชัดเจนสำหรับการออมเงิน เป็นประโยชน์ต่อตัวเราและคนในครอบครัวทั้งสิ้น

โดยส่วนใหญ่ที่นิยมวางแผนการเก็บออมเงินล่วงหน้า เพื่อ การใช้จ่ายยามเกษียณอายุ หรือยามแก่ตัวลง การออมเพื่อ การศึกษาของตัวเอง หรือคนในครอบครัว

การออมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์สินส่วนบุคคล เช่น การซื้อบ้าน ซื้อรถ ซื้อคอนโดเป็นของตัวเอง การออมโดยหวังผลตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การลงทุนการเลือ กฝากประจําเพื่อเงินปันผลและกำไร ไปจนถึงดอ กเบี้ยจากการเก็บออม

3.สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างอิสระ

เมื่อมีเงินออมที่มากพอสมควร เราก็สามารถไว้วางใจได้ว่า ในอนาคตภายภาคหน้าจะมีเงินเพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายในยามฉุ п เ ฉิ น

หรือค่าใช้จ่ายเมื่อยามแก่ตัวลง ทำให้เราสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างอิสระ และมีความสุขมากยิ่งขึ้น เพราะไม่ต้องเหนื่อยทุ่มแรงลงทุนทำงานหนักเหมือนอย่างตอนที่ยังไม่มีเงินเก็บ

4.ไม่เป็นภาระของลูกหลาน

แน่นอนว่าเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น มีผู้สูงอายุหลายคนที่ต้องให้ลูกหลาน มาคอยดูแลในเรื่องต่าง ๆ แต่จะดีกว่าหรือไม่ หากเรามีเงินออมเป็นของตัวเอง

เพื่อที่จะไม่ให้เป็นภาระของลูกหลาน เพราะแต่ละคนย่อมมีค่าใช้จ่ายส่วนตัวต่าง ๆ ที่แตกต่างกันออ กไป ซึ่งหากเรามีเงินเก็บออมเราจะสามารถนำเงินนั้น มาใช้จ่ายในยามเจ็บป่วยหรือในยามที่จำเป็น ไปจนถึงการช่วยเหลือลูกหลานในยามเดือดร้อนอีกด้วย

การบันทึกการออมมีประโยชน์ในการออมเงิน

5.เป็นเกราะเพิ่มความมั่นคงในอนาคต

การมีเงินออมจำนวนหนึ่งถือได้ว่าเป็นเกราะพื้นฐานป้องกันเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วยจากปัญหาสุขภาพ

หรือธุรกิจประสบปัญหา จนขาดสภาพคล่องทางการเงิน ซึ่งการเก็บออมเงินจะทำให้คุณเบาใจได้ว่า หากเกิดเหตุการณ์ฉุ п เ ฉิ นต่าง ๆ เหล่านี้ คุณจะไม่ต้องกู้หนี้ยืมสิน เพราะสามารถใช้เงินเก็บของคุณเพื่อให้ก้าวผ่านปัญหานี้ได้

6.ช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจภายในประเทศ

เงินออมถือได้ว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้เศรษฐกิจภายในประเทศของเรามีความเจริญก้าวหน้าได้มากยิ่งขึ้น โดยประเทศที่มีการออมเงินในปริมาณที่สูง

จะช่วยให้เศรษฐกิจสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว เพราะสามารถนำเงินที่เก็บออม ไปลงทุนเพื่อพัฒนาประเทศในรูปแบบต่าง ๆ โดยไม่ต้องอาศัยเงินทุนจากต่างประเทศ

ซึ่งแน่นอนว่า เงินออมส่วนใหญ่จะถูกนำไปใช้ในการลงทุนภาคธุรกิจ ไปจนถึงการสร้างโครงสร้างเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานต่าง ๆ เพื่อช่วยลดปัญหาการพึ่งพาต่างประเทศ

การบันทึกการออมมีประโยชน์ในการออมเงิน

สูตรการออมเงิน เริ่มต้นการออมเงินแบบไหนได้บ้าง

สำหรับมือใหม่หัดออมเงินในช่วงเศรษฐกิจที่ไม่ดีเช่นนี้ แน่นอนว่าหลายคนคงหาเงินได้อย่างยากลำบาก ประกอบกับข้าวของเครื่องใช้ต่างมีมูลค่าสูงขึ้น

ทั้งยังมีค่าใช้จ่ายรอบด้านเข้ามาแทรก เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อ การเก็บออมเงิน แต่ถึงอย่างนั้น ยังมีวิธีการออมเงินแบบง่าย ๆ ที่คุณก็สามารถทำได้ เพียงแค่เลือ กวิธีออมเงินให้เห ม าะกับตนเองเท่านั้น โดยสูตรการออมเงินที่น่าสนใจ มีดังนี้

เก็บเงินไว้สัก 10% ของรายได้ที่ได้รับ

โดยสามารถเก็บเข้าธนาคาร อาจเป็นในรูปแบบของบัญชีเงินฝากประจำไปจนถึงบัญชีเงินฝากแบบทั่วไปที่ใช้เก็บออมเงินโดยเฉพาะ

ส่วนเงินที่เหลือจากการเก็บออมก็นำไปกระจายรายจ่ายต่าง ๆ ให้เพียงพอ แต่หากใครที่มีรายจ่ายมากไม่สามารถเก็บได้ถึง 10% ก็ควรเริ่มต้นเก็บอย่างน้อย 5%

อย่าพกเงินสดทีละมาก ๆ

แน่นอนว่า หลายคนติดเป็นนิสัยเมื่อถือเงินสดจำนวน มาก ก็จะใช้เงินใน มืออย่างเพลิดเพลินจนลืมคิดไปว่าเราใช้เงินไปมากขนาดไหนแล้ว ดังนั้น วิธีการที่จะช่วยให้เราเก็บออมและใช้เงินได้น้อยลง

นั่นก็คือ การพกเงินให้น้อยลง เพื่อเป็นการจำกัดการใช้เงินของตัวเอง ลองเริ่มกับตัวเองง่าย ๆ ว่าควรใช้เงินวันละเท่าไหร่

และควรใช้ไม่ให้เกินงบประมาณที่ตั้งไว้ต่อวัน จะถือได้ว่าเป็นตัวช่วยในการออมเงินของคุณได้เป็นอย่างดีพร้อมทั้งฝึกนิสัยการใช้เงินได้ด้วย

จัดตารางการออมเงิน

การจัดตารางการออมเงินถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยการออมเงินที่ได้ผลค่อนข้างมาก คือ การจัดตารางการออมเงิน การใช้จ่ายในแต่ละวัน

ซึ่งในแต่ละวันแน่นอนว่าคุณอาจมีการคำนวณค่าใช้จ่ายรายวัน หรือรายสัปดาห์ อาจทำตารางการออมเงิน เช่น เก็บเงินวันละ 20-30 บาท หรือเก็บเงินอาทิตย์ละ 100-200 บาท เป็นต้น

เปิดบัญชีเงินฝากประจำแบบระยะยาว

อีกหนึ่งช่องทางยอดนิยมสำหรับการเก็บออมสำหรับใครหลายคน ตัดปัญหาการมีเงินติดไว้กับตัวแล้วต้องใช้จ่าย นั่นก็คือ การฝากประจำระยะยาว

อาจจะเริ่มต้นที่ 1-2 ปี แล้วแต่เราเป็นคนกำหนด ซึ่งการเปิดบัญชีเงินฝากประจําระยะยาวจะช่วยให้เราสามารถเก็บออมเงินได้อย่างสม่ำเสมอ อีกทั้งรับประกันได้ว่าเรามีเงินเก็บอย่างแน่นอน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *